คําราชาศัพท์ ตามรูปศัพท์ หมายถึง ถ้อยคำที่ใช้กับพระมหากษัตริย์

แต่ในปัจจุบัน คำราชาศัพท์ หมายถึง ถ้อยคำสุภาพ ไพเราะที่ใช้ให้เหมาะกับฐานะของบุคคลในสภาพสังคมไทย ซึ่งผู้ที่ต้องใช้คำราชาศัพท์ด้วยมี ดังนี้


  1. พระมหากษัตริย์
  2. พระบรมวงศานุวงศ์
  3. พระภิกษุ
  4. ขุนนางข้าราชการ
  5. สุภาพชน
ที่มาของคำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์ นั้น มีที่มาอยู่ 2 อย่าง คือ
  1. รับมาจากภาษาอื่น ภาษาเขมร เช่น โปรด เขนย เสวย เสด็จ เป็นต้น ภาษาบาลี-สันสกฤต เช่น อาพาธ เนตร หัตถ์ โอรส เป็นต้น
  2. การสร้างคำขึ้นใหม่ โดยการประสมคำ เช่น ลูกหลวงซับพระพักตร์ ตั้งเครื่อง เป็นต้น

คำราชาศัพท์หมวดเครื่องใช้

เครื่องใช้

คำราชาศัพท์

เครื่องใช้

คำราชาศัพท์

เสื้อ

รองท้า

ของเสวย

ที่นอน

ม่าน, มุ้ง

ถาดน้ำชา

คนโทน้ำ

ผ้าอาบน้ำ

ปืน

เข็มขัด


ประตู

เตียงนอน

ผ้าเช็ดตัว

ฉลองพระองค์

ฉลองพระบาท

เครื่อง

พระยี่ภู่

พระวิสูตร พระสูตร

ถาดพระสุธารส

พระสุวรรณภิงคาร

พระภูษาชุบสรง

พระแสงปืน

รัดพระองค์ , ผ้าชุบสรง , ผ้าสรง พระปั้นเหน่ง

พระทวาร

พระแท่นบรรทม

ซับพระองค์

ผ้าเช็ดหน้า

กระจกส่อง

ข้าว


น้ำกิน

ตุ้มหู

ช้อน

ช้อนส้อม

ปิ่น

ไม้เท้า

หมาก

น้ำชา

เหล้า

กางเกง

ซับพระพักตร์

พระฉาย

พระกระยาเสวย( พระมหากษัตริย์ )

พระสุธารส

พระกุณฑลพาน

ฉลองพระหัตถ์

ฉลองพระหัตถ์ส้อม

พระจุฑามณี

ธารพระกร

พานพระศรี

พระสุธารสชา

น้ำจัณฑ์

พระสนับเพลา พระที่ (ราชวงศ์)




คําราชาศัพท์หมวดร่างกาย

ร่างกาย -- คำราชาศัพท์

ร่างกาย -- คำราชาศัพท์

ผม -- พระเกศา
ไหปลาร้า -- พระรากขวัญ
หน้าผาก -- พระนลาฎ
ท้อง -- พระอุทร
หลัง -- พระขนอง
นิ้วมือ -- พระองคุลี
บ่า -- พระอังสะ
จุก -- พระโมฬี
นม -- พระถัน, พระเต้า
นิ้วชี้ -- พระดรรชนี
จมูก -- พระนาสิก
ฟัน -- พระทนต์
อก -- พระอุระ, พระทรวง
หู -- พระกรรณ
เอว -- บั้นพระองค์, พระกฤษฎี
ลิ้น -- พระชิวหา
ผิวหนัง -- พระฉวี
ข้อเท้า -- ข้อพระบาท
ปอด -- พระปับผาสะ
ปาก -- พระโอษฐ์
คาง -- พระหนุ
รักแร้ -- พระกัจฉะ
ดวงหน้า -- พระพักตร์
ผิวหน้า -- พระราศี

ลิ้นไก่ -- มูลพระชิวหา
ไรฟัน -- ไรพระทนต์
ตะโพก -- พระโสณี
แข้ง -- พระชงฆ์
นิ้วก้อย -- พระกนิษฐา
คอ -- พระศอ
เนื้อ -- พระมังสา
เหงื่อ -- พระเสโท
ปัสสาวะ -- พระบังคนเบา
สะดือ -- พระนาภี
อุจจาระ -- พระบังคนหนัก
ขน -- พระโลมา
เถ้ากระดูก -- พระอังคาร
น้ำลาย -- พระเขฬะ
ข้อมือ -- ข้อพระหัตถ์
คิ้ว -- พระขนง
น้ำตา -- น้ำพระเนตร,
ต้นขา -- พระอุรุ พระอัสสุชล
หัวเข่า -- พระชานุ
ต้นแขน -- พระพาหุ
ขนระหว่างคิ้ว -- พระอุณาโลม
เงา -- พระฉายา
จอนหู -- พระกรรเจียก




คําราชาศัพท์หมวดเครือญาติ ราชตระกูล

คำศัพท์

คำราชาศัพท์

คำศัพท์

คำราชาศัพท์

พ่อ

พระชนก พระบิดา

แม่

พระชนนี,พระมารดา

ปู่, ตา

พระอัยกา, พระอัยกี

ย่า, ยาย

พระอัยยิกา

ลุง

พระปิตุลา

ป้า

พระปิตุจฉา

พี่ชาย

พระเชษฐา

พี่สาว

พระเชษฐภคินี

น้องชาย

พระอนุชา

ลูกสะใภ้

พระสุณิสา

พ่อผัว, พ่อตา

พระสัสสุระ

พี่เขย, น้องเขย

พระเทวัน

ผัว

พระสวามี

ลูกเขย

พระชามาดา

คําราชาศัพท์หมวดคำกิริยา

คำศัพท์

คำราชาศัพท์

คำศัพท์

คำราชาศัพท์

ถาม

พระราชปุจฉา

ดู

ทอดพระเนตร

ทักทายปราศรัย

พระราชปฏิสันถาร

ให้

พระราชทาน

ไปเที่ยว

เสด็จประพาส

อยากได้

ต้องพระราชประสงค์

ทาเครื่องหอม

ทรงพระสำอาง

เขียนจดหมาย

พระราชหัตถเลขา

ไหว้

ถวายบังคม

แต่งตัว

ทรงเครื่อง

อาบน้ำ

สรงน้ำ

มีครรภ์

ทรงพระครรภ์

ตัดสิน

พระบรมราชวินิจฉัย

หัวเราะ

ทรงพระสรวล

นอน

บรรทม

รับประทาน

เสวย

นั่ง

ประทับ

ป่วย

ประชวร

ไป

เสด็จ

ชอบ

โปรด



คําราชาศัพท์หมวดสรรพนาม

คำที่ใช้แทน

คำราชาศัพท์

ใช้กับ

แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1)

ข้าพระพุทธเจ้า

กระผม, ดิฉัน

พระมหากษัตริย์

ผู้ใหญ่, พระสงฆ์

แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)

ใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท

ใต้ฝ่าละอองพระบาท

พระมหากษัตริย์

พระบรมราชินี
พระบรมราชนนี
พระบรมโอสรสาธิราช
พระบรมราชกุมารี

แทนชื่อที่พูดด้วย

ฝ่าพระบาท

เจ้านายชั้นสูง

แทนชื่อที่พูดด้วย

พระคุณเจ้า

พระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์

แทนชื่อที่พูดด้วย

พระคุณท่าน

พระภิกษุสงฆ์ทั่วไป

แทนชื่อที่พูดด้วย

พระเดชพระคุณ

เจ้านาย, หรือพระภิกษุที่นับถือ

แทนผู้ที่พูดถึง (บุรุษที่ 3)

พระองค์

พระราชา, พระพุทธเจ้า, เทพผู้เป็นใหญ่

แทนผู้ที่พูดถึง

ท่าน

เจ้านาย, ขุนนางผู้ใหญ่, พระภิกษุ, ผู้ใหญ่ที่นับถือ






























คําราชาศัพท์หมวดเครื่องใช้

คําราชาศัพท์หมวดเครื่องใช้

พระวิสูตรหรือพระสูตร หมายถึง ม่านหรือมุ้ง

พระเขนย หมายถึง หมอน

พระทวาร หมายถึง ประตู

พระบัญชร หมายถึง หน้าต่าง

พระสุวรรณภิงคาร หมายถึง คนโทน้ำ

ฉลองพระหัตถ์ช้อน หมายถึง ช้อน

ฉลองพระหัตถ์ส้อม หมายถึง ส้อม

ฉลองพระหัตถ์ตะเกียบ หมายถึง ตะเกียบ

แก้วน้ำเสวย หมายถึง แก้วน้ำ

พระสาง หมายถึง หวี

พระแสงกรรบิด หมายถึง มีดโกน

ซับพระองค์ หมายถึง ผ้าเช็ดตัว

ซับพระพักตร์ หมายถึง ผ้าเช็ดหน้า

ผ้าพันพระศอ หมายถึง ผ้าพันคอ

พระภูษา หมายถึง ผ้านุ่ง

นาฬิกาข้อพระหัตถ์ หมายถึง นาฬิกาข้อมือ

พระฉาย หมายถึง กระจกส่อง

ธารพระกร หมายถึง ไม้เท้า

พระแท่นบรรทม หมายถึง เตียงนอน

พระราชอาสน์ หมายถึง ที่นั่ง

โต๊ะทรงพระอักษร หมายถึง โต๊ะเขียนหนังสือ

พระราชหัตถเลขา หมายถึง จดหมาย

ฉลองพระเนตร หมายถึง แว่นตา

พระที่นั่งเก้าอี้หรือเก้าอี้ประทับ หมายถึง เก้าอี้นั่ง

พระเขนย หมายถึง หมอนหนุน

เครื่องพระสุคนธ์ หมายถึง เครื่องหอม เช่น น้ำหอม แป้งผัดหน้า

เครื่องพระสำอาง หมายถึง เครื่องประทินผิวหรือเครื่องสำอาง

อ่างสรง หมายถึง อ่างอาบน้ำ

กระเป๋าทรง หมายถึง กระเป๋าถือ

พระแสงปนาค หมายถึง กรรไกร

พระวิสูตรหรือพระสูตร หมายถึง ม่านหรือมุ้ง

พระเขนย หมายถึง หมอน

พระทวาร หมายถึง ประตู

พระบัญชร หมายถึง หน้าต่าง

พระสุวรรณภิงคาร หมายถึง คนโทน้ำ

ฉลองพระหัตถ์ช้อน หมายถึง ช้อน

ฉลองพระหัตถ์ส้อม หมายถึง ส้อม

ฉลองพระหัตถ์ตะเกียบ หมายถึง ตะเกียบ

แก้วน้ำเสวย หมายถึง แก้วน้ำ

พระสาง หมายถึง หวี

พระแสงกรรบิด หมายถึง มีดโกน

ซับพระองค์ หมายถึง ผ้าเช็ดตัว

ซับพระพักตร์ หมายถึง ผ้าเช็ดหน้า

ผ้าพันพระศอ หมายถึง ผ้าพันคอ

พระภูษา หมายถึง ผ้านุ่ง

นาฬิกาข้อพระหัตถ์ หมายถึง นาฬิกาข้อมือ

พระฉาย หมายถึง กระจกส่อง

ธารพระกร หมายถึง ไม้เท้า

พระแท่นบรรทม หมายถึง เตียงนอน

พระราชอาสน์ หมายถึง ที่นั่ง

โต๊ะทรงพระอักษร หมายถึง โต๊ะเขียนหนังสือ

พระราชหัตถเลขา หมายถึง จดหมาย

ฉลองพระเนตร หมายถึง แว่นตา

พระที่นั่งเก้าอี้หรือเก้าอี้ประทับ หมายถึง เก้าอี้นั่ง

พระเขนย หมายถึง หมอนหนุน

เครื่องพระสุคนธ์ หมายถึง เครื่องหอม เช่น น้ำหอม แป้งผัดหน้า

เครื่องพระสำอาง หมายถึง เครื่องประทินผิวหรือเครื่องสำอาง

อ่างสรง หมายถึง อ่างอาบน้ำ

กระเป๋าทรง หมายถึง กระเป๋าถือ

พระแสงปนาค หมายถึง กรรไกร

หมวดกิริยา

คำราชาศัพท์หมวดอากัปกิริยา

ทาเครื่องหอม = ทรงพระสำอาง ทักทายปราศรัย = พระราชปฏิสันถาร

ถาม = พระราชปุจฉา ดู = ทอดพระเนตร

ให้ = พระราชทาน อยากได้ = ต้องพระราชประสงค์

ไปเที่ยว = เสด็จประพาส จดหมาย = พระราชหัตถเลขา

ไหว้ = ถวายบังคม แต่งตัว = ทรงเครื่อง

อาบน้ำ = สรงน้ำ มีครรภ์ = ทรงพระครรภ์

หัวเราะ = ทรงพระสรวล ตัดสิน = พระบรมราชวินิจฉัย

หมวดอาการต่างๆ

ราชาศัพท์ ความหมาย ใช้สำหรับพระราชวงศ์

สระพระเจ้า สระผม – พระมหากษัตริย์

แต่งองค์ แต่งตัว – หม่อมเจ้า

ทรงกีฬา เล่นกีฬา – พระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์

ทรงช้าง ขี่ช้าง – พระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์

ทรงม้า ขี่ม้า – พระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์

ทรงรถ นั่งรถ – พระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์

ทรงเรือ นั่งเรือ – พระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์

ประทับ นั่ง, อยู่ – พระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์

ทรงยืน ยืน – พระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์

ไม่มีบทความ
ไม่มีบทความ